วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Trasnasfer Fasctor กับโรคเอดส์

 

Trasnasfer Fasctor กับการดูแลโรคเอดส์

          การทำงานของ Transfer Factor กับการดูแลโรคเอดส์นั้น Transfer Factor จะทำหน้าที่ในการเสริมสร้างค่า CD4+ ภายในร่างกาย ซึ่งจะทำการปรับค่าให้สูงขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งผิดกับยาต้านไวรัสเอดส์ ซึ่งจะทำหน้าที่เพียงการควบคุมไม่ให้แสดงอาการของโรคออกมาเพียงเท่านั้น แต่จะไม่ได้ช่วยเพิ่มค่าของ CD4+ นอกจากนี้ Transfer Factor ยังจะทำหน้าที่ใน CD4+ ในการชี้เป้าให้กับเซลล์เม็ดเลือดขาว NK Cell เข้าไปทำลายเซลล์ที่ติดเชื้อๆไวรัสในระบบ DNA  และยังเป็นตัวเพิ่มและปรับสภาพของระบบภูมิคุ้มกันให้กลับมาแข็งแรงเหมือน เดิม ซึ่งระบบภูมิคุ้มกันนี้เป็นสาเหตุของการเกิดโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยปกติแล้วผู้ป่วยโรคเอดส์นั้นจะเสียชีวิต โดยภาวะโรคแทรกซ้อนมากกว่าเสีย ชีวิตจากโรคเอดส์โดยตรง เนื่องจากเมื่อระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอหรือบกพร่องจะทำ ให้ร่างกายได้รับเชื้อโรคอย่างง่ายดาย และไม่สามารถทำลายสิ่งแปลกปลอมภายในร่างกายได้ แต่การได้รับ Transfer Factor เข้าไปช่วยนี้ จะทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ได้ตามปกติ ทำให้ไม่เกิดภาวะโรคแทรกจากโรคอื่นๆได้

การสังเกตุตนเองว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่  การติดเชื้อเอชไอวีมีลักษณะเป็นอย่างไร

        .ภายหลังการได้รับเชื้อเอชไอวี  ร่างกายต้องใช้เวลาในการสร้างปฏิกิริยาตอบสนองต่อเชื้อสักระยะหนึ่ง  ในปัจจุบันการวินิจฉัยว่าติดเชื้อหรือไม่ เราจะไม่ได้ตรวจหาเชื้อเอชไอวีโดยตรง แต่จะเป็นการตรวจหาว่าร่างกายว่ามีปฏิกิริยาต่อเชื้อหรือไม่ โดยการตรวจหา แอนติบอดีของเชื้อเอชไอวี (Anti-HIV antibody) ซึ่งการตรวจดังกล่าวอาจให้ผลลบได้ในกรณีที่ได้ รับเชื้อมาใหม่ ๆ เนื่องจากร่างกายยังไม่ได้สร้างปฏิกิริยาตอบสนอง (ควรตรวจหาอีกครั้ง หลังจากผ่านความเสี่ยงไปแล้วสัก 3 เดือนขึ้นไป )  ภายหลังการรับเชื้อเอชไอวี บางรายอาจไม่มีอาการใด ๆ เลย บางรายอาจมีอาการเหมือนการติดเชื้อไวรัสทั่ว ๆ ไป เช่น มีไข้  มีผื่นตามตัว มีต่อมน้ำเหลืองโต มีอาการเจ็บคอ โดยอาการเหล่านี้มักจะกินเวลาสั้น ๆ และหายไปได้เอง แล้วหลังจากนั้น ผู้ป่วยจะไม่มี อาการใด ๆ เลย อาการข้างต้นจะเหมือนหรือคล้ายกับการติดเชื้อหวัดธรรมดา ทำให้บางรายไม่ได้สังเกตุ ไม่ใส่ใจ หรือบางรายอาจคิดว่าเป็นแค่ไข้หวัดทั่วๆไป เลยทำให้การสังเกตุว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่ จากอาการข้างต้นเป็นไปได้ยาก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น